ความต่างศักย์ไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา ในลักษณะที่เป็นกราฟรูป Sine และทิศทางของกระแสไฟฟ้าจะกลับไปกลับมา เป็นการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย
การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ความสัมพันธ์ของความต่างศักย์ กับเวลา คือ
ความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้า กับเวลา คือ
การวัดค่าความต่างศักย์ของไฟฟ้ากระแสสลับ
โดยทั่วไป การวัดไฟฟ้ากระแสสลับ เช่น ความต่างศักย์ หรือ
กระแสไฟฟ้า จะวัดเป็นค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยของกำลังสอง
ของความต่างศักย์ ()และรากที่สองของค่าเฉลี่ยของกำลังสอง
ของไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งมีสัญลักษณ์ () โดยที่
หาค่าเฉลี่ยของกำลังสองเฉลี่ยจาก
การต่อตัวต้านทาน และตัวเก็บประจุ ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
การหาค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทาน และต่อตัวประจุ
ที่ต่อในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับไม่เหมือนกับในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทาน สัมพันธ์กับเวลา ดังนี้
ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุ สัมพันธ์กับเวลา ดังนี้
นั่นคือ เฟสของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุ จะตาม
เฟสของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทาน ที่ต่อแบบอนุกรม
อยู่ 90°
การหาความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม ต้องใช้วิธีการเขียนแผนภาพ
เฟสเซอร์ ดังนี้
ความยาวของลูกศรแทนขนาด และตำแหน่งของลูกศรแสดงเฟสเริ่มต้น
สำหรับตัวเก็บประจุที่ต่ออยู่ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ความต่างศักย์ที่
นั่นคือความต่างศักย์ไฟฟ้าจะมีเฟสตามกระแสไฟฟ้าอยู่ 900
ตัวต้านทานและตัวเหนี่ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
การหาค่าของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานและตัวเหนี่ยวนำ
ไฟฟ้าที่ต่อในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับไม่เหมือนกับในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทาน สัมพันธ์กับเวลา ดังนี้
ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวเหนี่ยวนำ สัมพันธ์กับเวลา ดังนี้
นั่นคือเฟสของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทาน จะตาม
เฟสของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวเหนี่ยวนำที่ต่อแบบอนุกรม
อยู่ 90°
การหาความต่างศักย์รวมต้องใช้วิธีการเขียนแผนภาพเฟสเซอร์ ดังนี้
ความยาวของลูกศรแทนขนาด และตำแหน่งของลูกศรแสดงเฟสเริ่มต้น
สำหรับตัวเหนี่ยวนำที่ต่ออยู่ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ความต่างศักย์ที่
นั่นคือ กระแสไฟฟ้าจะมีเฟสตามความต่างศักย์ไฟฟ้าอยู่ 90°
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น