วันอาทิตย์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2553

งานและพลังงาน : พลังงานศักย์(P.E.)

2. พลังงานศักย์(P.E.) เป็นพลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุ แบ่งเป็น

2.1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง (EP) มีขนาดเท่ากับงานที่

ใช้ในการเปลี่ยนตำแหน่งความสูงของวัตถุจากพื้นล่าง

m = มวลของวัตถุ (กิโลกรัม)
g =
ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ( = 9.8 เมตร/ วินาทีกำลังสอง2)
h =
ความสูงของวัตถุจากพื้น (เมตร)
E
p = พลังงานศักย์โน้มถ่วง (จูล)

ตัวอย่าง นักกีฬากระโดดน้ำมวล 50 กิโลกรัม กระโดดน้ำที่ตำแหน่งต่างๆ กัน จงคำนวณหาพลังงานศักย์ของนักกีฬาเมื่อ
1)
ยืนที่พื้นขอบสระน้ำ
2)
ยืนที่ระดับสูง 4 เมตรจากขอบสระน้ำ
3)
ยืนที่ระดับสูง 6 เมตรจากขอบสระน้ำ
วิธีทำ 1) นักกีฬายืนที่พื้นขอบสระน้ำ
จากสูตร Ep = mgh

ตอบ
2)
นักกีฬายืนที่ระดับสูง 4 เมตรจากขอบสระน้ำ

ตอบ
3)
นักกีฬายืนที่ระดับสูง 6 เมตรจากขอบสระน้ำ

ตอบ

ตัวอย่าง จงหาปริมาณพลังงานศักย์ของลูกมะพร้าวที่อยู่บนต้นสูง 6 เมตร เมื่อ
1)
ลูกมะพร้าวมีมวล 0.5 กิโลกรัม
2)
ลูกมะพร้าวมีมวล 1.0 กิโลกรัม
วิธีทำ 1) เมื่อลูกมะพร้าวมีมวล 0.5 กิโลกรัม

ตอบ
2)
เมื่อลูกมะพร้าวมีมวล 1.0 กิโลกรัม

ตอบ

ข้อสังเกต

พลังงานศักย์โน้มถ่วง (gravitational potential energy) หมายถึง พลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุที่อยู่สูงจากพื้นโลกขึ้นไป และวัตถุนั้นอยู่ในแนวดิ่ง
ปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานศักย์โน้มถ่วง คือ
1.
มวลของวัตถุ วัตถุที่มีมวลมาก แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุนั้นจะมาก ทำให้ค่าของพลังงานศักย์โน้มถ่วงมากตามไปด้วย
2.
ตำแหน่งที่อยู่ของวัตถุ เป็นระยะความสูงของวัตถุที่อยู่ห่างจากผิวโลก วัตถุที่อยู่ห่างจากผิวโลกมากจะสะสมค่าพลังงานศักย์โน้มถ่วงไว้มาก ดังนั้นวัตถุที่อยู่สูงจึงมีค่าพลังงานศักย์โน้มถ่วงมากกว่าวัตถุที่อยู่ในระดับต่ำกว่า เมื่อวัตถุอยู่ ณ ตำแหน่งสูงสุดจะมีค่าพลังงานศักย์โน้มถ่วงมากที่สุด และเมื่อวัตถุตกถึงผิวโลกจะไม่มีค่าพลังงานศักย์โน้มถ่วงหรือมีค่าพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์
ถ้าเรากำหนดให้ Ep แทนพลังงานศักย์โน้มถ่วง สามารถเขียนความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุกับมวลและความสูงของวัตถุ

2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น(EP) เป็นพลังงานที่มีอยู่

ในวัตถุที่มีความยืดหยุ่น เช่น หนังยาง สปริง ฯลฯ

แรงยืดหยุ่น F = ks

EP = พลังงานศักย์ยืดหยุ่น มีหน่วยเป็น จูล

F = แรงยืดหยุ่นสปริง

k = ค่าคงตัวของสปริง มีหน่วยเป็น นิวตัน/เมตร

s = ระยะยืดของสปริง มีหน่วยเป็น เมตร

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น